การปรึกษาหารือ การสานเสวนา และการตัดสินใจ: กระบวนการมีส่วนร่วมโดยตรงของประชาชนในการจัดทำรัฐธรรมนูญ
ปัจจุบนั การมีส่วนรว่ มของประชาชนถือว่าเป็นส่วนสำคัญของกระบวนการจัดทำรัฐธรรมนูญในศตวรรษที่21 กระบวนการปฏิรูปรฐั ธรรมนูญเกือบทุกครั้งล้วนมีการนำประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมด้วยสิทธิในการมีส่วนร่วมในเรื่องสาธารณะนั้นได้รบัการยอมรบั ในระดับสากล และกลายเป็นฉันทามติวา่ การมีส่วนรว่ มของประชาชนถือเป็นหลักปฏิบตัิที่ดีในการจัดทำรัฐธรรมนูญ
ในบทความชิ้นนี้ จะกล่าวถึงประเด็นห้าข้อที่เกี่ยวข้องกับการมีส่วนร่วมของประชาชนในการจัดทำรัฐธรรมนูญได้แก่ (ก) เหตุผลของการมีส่วนรว่ มของประชาชนในการจัดทำรฐั ธรรมนูญ (ข) ข้อวจิ ารณ์ถึงการมีส่วนรว่ ม (ค) การมีส่วนรว่ มรูปแบบต่างๆ (ง) การมีส่วนรว่ มที่เปิดกว้าง และ (จ) ทิศทางของการมีส่วนร่วม และช่องทางการมีส่วนร่วมอย่างไม่เป็นทางการ
Details
Contents
ข้อความเบื้องต้น
1. เหตุผลสนับสนุนการมีส่วนร่วมของประชาชน
2. ข้อวิจารณ์ถึงการมีส่วนร่วมและการมีส่วนร่วมที่มีความหมาย
3. ประเภทของการมีส่วนร่วมของประชาชน
4.การตัดสินใจเลือกประเภทของการมีส่วนร่วมที่จะใช้
5. การมีส่วนร่วมที่เปิดกว้าง (Inclusive participation)
6. ยุคสมัยแห่งการมีส่วนร่วม
บรรณานุกรมและรายชื่อหนงัสอื อ่านเพ่มิ เติม
Give us feedback
Do you have a question or feedback about this publication? Leave us your feedback, and we’ll get back to you
Send feedbackการปรึกษาหารือ การสานเสวนา และการตัดสินใจ: กระบวนการมีส่วนร่วมโดยตรงของประชาชนในการจัดทำรัฐธรรมนูญ

Total views | 18 |
---|---|
Downloads | 1 |
Rating |
Give us feedback
Do you have a question or feedback about this publication? Leave us your feedback, and we’ll get back to you
Send feedback